โครงการอาคารเบอร์ 5 (Existing Building)
กฟผ. ดำเนินโครงการอาคารเบอร์ 5 เพื่อส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้พลังงานและสิ่งแวดล้อมของอาคารที่มีอยู่เดิมผ่านการรับรองมาตรฐานฉลากอาคารเบอร์ 5 โดยอ้างอิงมาตรการ Thailand Taxonomy ของประเทศไทย เพื่อสนับสนุนนโยบายของสถาบันทางการเงิน สำหรับผู้ประกอบการที่มีศักยภาพและความต้องการเงินทุนสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานของอาคาร ด้วยมาตรการทางการเงินพิเศษ ภายใต้การรับรองอาคารเบอร์ 5 ของ กฟผ.

ขอบข่ายของอาคาร
อาคารที่อยู่อาศัย
– อาคารชุด
– อาคารพาณิชย์
– หอพัก
อาคารธุรกิจ
– สำนักงานหรือที่ทำการ
– อาคารของรัฐ
– สถานศึกษาและวิทยาเขต
– ศูนย์การค้า ร้านค้าปลีก โกดังสินค้า
– โรงแรม
– สถานพยาบาล

2E Concept ของอาคารเบอร์ 5 (Existing Building)

E&E : Energy & Environment
1. ด้านพลังงาน
Energy Efficiency (kgCO2/m2)
ปฏิบัติตามเส้นทางการลดคาร์บอนสำหรับประเทศ โดยอ้างอิงกราฟความเข้มข้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปัจจุบัน ไปถึงการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ในปี พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050)

2. ด้านสิ่งแวดล้อม

การประหยัดน้ำ
ส่งเสริมการประหยัดน้ำและการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตรวจวัดปริมาณการใช้น้ำได้

การจัดการขยะ
ส่งเสริมการประหยัดน้ำและการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตรวจวัดปริมาณการใช้น้ำได้

คุณภาพอากาศในอาคาร
ส่งเสริมการประหยัดน้ำและการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตรวจวัดปริมาณการใช้น้ำได้

การป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมการประหยัดน้ำและการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตรวจวัดปริมาณการใช้น้ำได้

นวัตกรรม
ส่งเสริมการประหยัดน้ำและการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถตรวจวัดปริมาณการใช้น้ำได้

อาคาร
ที่อยู่ระหว่างใช้งาน



หมายเหตุ :
หากผ่านเกณฑ์การรับรองอาคารเบอร์ 5 สามารถเข้าร่วมมาตรการ
ขั้นตอนการเข้าร่วมโครงการ

มาตรการ Thailand Taxonomy ภาคอาคารและอสังหาริมทรัพย์
Thailand Taxonomy คืออะไร

Taxonomy คือ มาตรฐานที่ใช้อ้างอิงในการจัดกลุ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาคต่างๆ สำหรับการเปลี่ยนผ่านสู่
การดำเนินงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งเป็น 3 ระดับได้แก่

สีเขียว (Green)
หมายถึง กิจกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใกล้เคียงหรือเท่ากับศูนย์หรือมีเส้นทางที่ ชัดเจนที่จะนําไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับศูนย์

สีเหลือง (Amber)
หมายถึง กิจกรรมที่อยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน (Transition) หรือกิจกรรมที่ยังไม่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ แต่ สามารถปรับปรุงได้ด้วยการกําหนดแนวทางในการลดคาร์บอน (Decarbonization pathway)

สีแดง (Red)
หมายถึง กิจกรรมที่ไม่สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้
กิจกรรมในขอบข่าย
– เงินลงทุนที่ใช้จ่ายเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพ
– ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานบำรุงรักษาและบริหารอาคารอย่างต่อเนื่อง
– ต้นทุนหรือมูลค่าการก่อสร้าง
– การขอหรือการรีไฟแนนซ์สินเชื่อหรือการจำนอง
– การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับอาคารเขียว
– โครงการรื้อถอนและเตรียมสถานที่
ขอบข่าย Taxonomy ภาคอาคารและอสังหาริมทรัพย์
ขอบข่ายของอาคาร
อาคารที่อยู่อาศัย
– อาคารชุด
– อาคารพาณิชย์
– หอพัก
อาคารธุรกิจ
– สำนักงานหรือที่ทำการ
– อาคารของรัฐ
– สถานศึกษาและวิทยาเขต
– ศูนย์การค้า ร้านค้าปลีก โกดังสินค้า
– โรงแรม
– สถานพยาบาล

เงื่อนไขการเข้าร่วม Thailand Taxonomy ภาคอาคารและอสังหาริมทรัพย์
เกณฑ์ Taxonomy ระดับ Green
ตัวเลือกที่ 1:
เส้นทางการลดคาร์บอนของประเทศไทยสำหรับภาคอาคาร
ปฏิบัติตามเส้นทางการลดคาร์บอนสำหรับประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลจากค่า HEPs และ
ZEB ของ DEDE โดยสอดคล้องกับ CCREM
อ้างอิงกราฟความเข้มข้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปัจจุบัน ไปถึงการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ในปี พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050)

ตัวเลือกที่ 2: เครื่องหมายรับรองที่นำมาใช้ทดแทน
และข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับอาคาร (รวมอาคารที่อยู่อาศัย)
ผ่านการรับรองอาคารเขียวที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ซึ่งสอดคล้องตาม taxonomy
